บันทึกอนุทินครั้งที่ 15
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ประจำวิชา อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 18 พฤศจิกายน 2557
กลุ่มเรียน 102
ความรู้ที่ได้รับ (The knowledge gained)
สำหรับวันนี้เป็นการนำเสนอวิจัย(Research)และโทรทัศน์ครู(Teachers TV) ได้แก่...
1. เรื่อง การกำเนิดของเสียง
โดย นางสาวธิดามาศ ศรีปาน
2. เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง
สีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
โดย นางสาววรรณนิศา นวลสุข
3. เรื่อง การปรุงอาหาร
โดย นางสาวพัชราภรณ์ พระนาค
4. เรื่อง สังเกตการเจริญเติบโตของพรรณพืชการทดลอง
โดยใช้กระแสไฟฟ้าทำกับน้ำเกิดOxygen ช่วยในการเจริญเติบโตของพืช
โดย นางสาวสุนิสา สะแลแม
5. เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมเรื่องแสงที่มัต่อทักษะการแสวงหาความรู้
โดย นางสาวศิริวิมล หมั่นสนธิ์
ต่อมาเป็นการทำกิจกรรมในห้องเรียน วาฟเฟิล (Waffle)
1.แป้ง(Powder)
2.เนย(Better)
3.ไข่ไก่ (Egg)
4.น้ำเปล่า(Water)
ขั้นตอนการทำ
1.เทแป้งลงในภาชนะที่เตรียมไว้
2.นำไข่ใส่ลงไปตามด้วยเนยจืดคนให้เข้ากัน
3.เติมน้ำเพื่อไม่ให้แป้งข้นจนเกินไป
4.คนจนแป้งเข้าที่เป็นเนื้อเดียวกัน
5.แบ่งแป้งใส่ถ้วยที่เตรียมไว้
6.นำเนยทาที่แม่พิมพ์ที่เตรียมไว้เพื่อไม่ให้แป้งติดแม่พิมพ์
7.นำแป้งที่แบ่งไว้ในถ้วยเทลงในแม่พิมพ์ที่เตรียมไว้
8.รอจนแป้งสุก ก็นำออกมาทานได้เลย
การนำไปใช้ (Application)
สำหรับความรู้ที่ได้รับวันนี้ สามารถนำความรู้จากที่พื่อนๆนำเสนอมาปรับประยุกต์และวิธีการนำเสนอให้ดียิ่งขึ้น และเนื้อหาของเพื่อนๆน่าสนใจอย่างย่ิง สามารถนำมาเชื่อมโยงกับวิชาวิทยาศาสตร์ที่เหมาะกับเด็กปฐมวัย เพราะกิจกรรมบางเรื่องมีการทดลองที่ง่าย นำมาสอนเด็กได้และเขาก็สามารถลงมือปฏิบัติได้จริง
การทำวาฟเฟิล ได้ความรู้อย่างมาก เพราะดิฉันได้ลงมือทำเป็นครั้งแรก ได้รู้ถึงส่วนประกอบ วิธีการทำ ความรู้ที่ได้ในวันนี้สามารถนำไปสอนเด็กในเรื่องการประกอบอาหาร ซึ่งทำให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยววิทยาศาสตร์ เด็กได้ทักษะทางวิทยาศาสตร์ คือ ได้สังเกต ได้ลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งสามารถมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมนี้ด้วย นอกจากนี้เด็กยังได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ได้มองเห็นวัตถุดิบต่างๆที่ครูเตรียมให้ ได้ได้ชิมรสชาติ ได้ดมกลิ่น ได้ฟังที่ครูบอกถึงขั้นตอนต่างๆ และได้สัมผัสกับวัตถุดิบ เช่น แป้ง เนย
การประเมินผล ( Evaluation )
ประเมินตนเอง (Self) = สนใจที่เพื่อนๆนำเสนอ และร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียน มีส่วนร่วนในกิจกรรมช่วยเพื่อนเก็บของ
ประเมินเพื่อน (Friend) = เพื่อนเข้าเรียนตรงเวลา และตั้งใจฟังเพื่อนๆนำเสนอ และร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถาม เรื่องที่ไม่เข้าใจ มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี
ประเมินครูผู้สอน (Teacher)= อาจารย์แนะนำการเขียนแผนการสอนโดยละเอียดมาก ช่วยให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น และนำกิจกรรมมาให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง สนุกสนานมากเลยค่ะ
อุปกรณ์
2.เนย(Better)
3.ไข่ไก่ (Egg)
4.น้ำเปล่า(Water)
1.เทแป้งลงในภาชนะที่เตรียมไว้
2.นำไข่ใส่ลงไปตามด้วยเนยจืดคนให้เข้ากัน
3.เติมน้ำเพื่อไม่ให้แป้งข้นจนเกินไป
4.คนจนแป้งเข้าที่เป็นเนื้อเดียวกัน
5.แบ่งแป้งใส่ถ้วยที่เตรียมไว้
6.นำเนยทาที่แม่พิมพ์ที่เตรียมไว้เพื่อไม่ให้แป้งติดแม่พิมพ์
7.นำแป้งที่แบ่งไว้ในถ้วยเทลงในแม่พิมพ์ที่เตรียมไว้
8.รอจนแป้งสุก ก็นำออกมาทานได้เลย
วาฟเฟิลร้อนๆสักชิ้นมั๊ยคะ
การนำไปใช้ (Application)
สำหรับความรู้ที่ได้รับวันนี้ สามารถนำความรู้จากที่พื่อนๆนำเสนอมาปรับประยุกต์และวิธีการนำเสนอให้ดียิ่งขึ้น และเนื้อหาของเพื่อนๆน่าสนใจอย่างย่ิง สามารถนำมาเชื่อมโยงกับวิชาวิทยาศาสตร์ที่เหมาะกับเด็กปฐมวัย เพราะกิจกรรมบางเรื่องมีการทดลองที่ง่าย นำมาสอนเด็กได้และเขาก็สามารถลงมือปฏิบัติได้จริง
การทำวาฟเฟิล ได้ความรู้อย่างมาก เพราะดิฉันได้ลงมือทำเป็นครั้งแรก ได้รู้ถึงส่วนประกอบ วิธีการทำ ความรู้ที่ได้ในวันนี้สามารถนำไปสอนเด็กในเรื่องการประกอบอาหาร ซึ่งทำให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยววิทยาศาสตร์ เด็กได้ทักษะทางวิทยาศาสตร์ คือ ได้สังเกต ได้ลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งสามารถมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมนี้ด้วย นอกจากนี้เด็กยังได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ได้มองเห็นวัตถุดิบต่างๆที่ครูเตรียมให้ ได้ได้ชิมรสชาติ ได้ดมกลิ่น ได้ฟังที่ครูบอกถึงขั้นตอนต่างๆ และได้สัมผัสกับวัตถุดิบ เช่น แป้ง เนย
การประเมินผล ( Evaluation )
ประเมินตนเอง (Self) = สนใจที่เพื่อนๆนำเสนอ และร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียน มีส่วนร่วนในกิจกรรมช่วยเพื่อนเก็บของ
ประเมินเพื่อน (Friend) = เพื่อนเข้าเรียนตรงเวลา และตั้งใจฟังเพื่อนๆนำเสนอ และร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถาม เรื่องที่ไม่เข้าใจ มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี
ประเมินครูผู้สอน (Teacher)= อาจารย์แนะนำการเขียนแผนการสอนโดยละเอียดมาก ช่วยให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น และนำกิจกรรมมาให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง สนุกสนานมากเลยค่ะ
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น